ABOUT ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

สิ่งที่น่าสนใจเพิ่มเติมหลังผู้วิจัยได้สัมผัสวิถีชุมชนแต่ละแห่ง คือมิติด้านภูมิประเทศและวัฒนธรรมมีส่วนสำคัญต่อโอกาสทางการศึกษาของเด็กยากจนเช่นกัน จากการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน ณ โรงเรียนชายขอบหรือโรงเรียนที่มีบริเวณติดชายแดนประเทศเพื่อนบ้านพบว่า เด็กต่างชาติอย่างพม่าและลาวประสบปัญหาค่าใช้จ่ายเรื่องการเดินทางข้ามฝั่งมาเรียนที่ไทย บางครั้งต้องหยุดเรียนเพื่อกลับบ้านไปช่วยผู้ปกครองทำงานหาเงิน เช่นเดียวกับนักเรียนบนดอย ที่จำเป็นต้องขาดเรียนไปช่วยงานครอบครัวเมื่อถึงฤดูเพาะปลูกหรือฤดูเก็บเกี่ยว

ในสถานศึกษาบางแห่งมีการปรับรูปแบบหลักสูตร เพื่อทำให้ง่ายต่อการเข้าศึกษาของนักเรียน เช่น การเปิดโครงการพิเศษต่างๆ ที่มีค่าเทอมที่สูงขึ้น และลดจำนวนนักศึกษาของสาขาวิชาปกติลง นอกจากนี้ ยังพบปัญหาของการขาดแคลนบุคคลากร อาจารย์ หรือผู้เชี่ยวชาญในบางสาขาวิชา จนทำให้ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างเต็มที่ ส่งผลให้มหาวิทยาลัยไม่สามารถผลิตบัณฑิตให้เป็นไปตามความต้องการของตลาดแรงงานในอนาคตได้

ภาพรวมข้างต้นเป็นเหตุให้เราต้องย้อนกลับมาตั้งคำถามว่า การแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาของไทยที่ผ่านมาเป็นอย่างไร และอะไรคือหล่มกับดักที่ทำให้เรายังคงไปไม่ถึงความเสมอภาคที่ควรจะเป็น

การขาดแคลนครูผู้สอนเป็นปัญหาที่สะท้อนให้เห็นถึงระบบโครงสร้างในการผลิตครู เพื่อเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของระบบทางการศึกษา เนื่องจากอัตราการแข่งขันในการสอบบรรจุข้าราชการครูที่สูงมาก ในขณะที่อัตราการรับเข้าบรรจุเองก็น้อยมาก ส่งผลให้ขาดแคลนครูผู้สอนในบางรายวิชาอยู่เป็นจำนวนมาก

สร้างความรับผิดชอบด้วยระบบรุ่นพี่ดูแลรุ่นน้อง 

การศึกษาปัจจัยความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช ผู้แต่ง

Constantly Enabled Required cookies are Totally essential for the web site to operate correctly. These cookies be ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา certain standard functionalities and safety features of the website, anonymously.

เดินหมากธุรกิจอย่างไรในเกมกระดานโลก

iSEE ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา

สถิติของความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทย

การที่มีสภาพแวดล้อมไม่เหมาะแก่การศึกษา การสนับสนุนของครอบครัวไม่เอื้ออำนวย หรือการขาดคุณภาพชีวิตที่ดี ส่งผลให้เด็ก และเยาวชนไทยบางส่วนถูกผลักให้ออกไปจากระบบการศึกษา ขาดการเรียนรู้ในวิชาชีพ การเรียนรู้ทางสังคม หรือการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี ทำให้เด็ก และเยาวชนบางรายกลายเป็นประชากรที่ไร้คุณภาพ นำไปสู่การเกิดปัญหาสังคม และปัญหาอาชญากรรมตามมา

ดร.อารี อิ่มสมบัติ : ปักหมุดจุดเหลื่อมล้ำโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกล จากดอยสูง จ.เชียงราย ถึงแดนใต้ จ.สุราษฎร์ธานี

สำหรับการจัดงานครั้งนี้ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงการดำเนินงานที่ถูกต้องชัดเจน รวมทั้งเข้าใจความแตกต่างทในด้านศักยภาพบุคคล หน่วยงาน และบริบทของพื้นที่ ซึ่งความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการขับเคลื่อนนโยบายทั้งในและนอกสังกัด ทั้งภาครัฐและเอกชน ต้องบูรณาการการทำงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในพื้นที่เพื่อความเป็นเอกภาพ และกำกับ เร่งรัด ติดตามประเมินผล และรายงานผลอย่างต่อเนื่อง เพราะเป็นกลไกที่สำคัญทำให้ทราบความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เพื่อกระตุ้น ส่งเสริม สนับสนุนให้หน่วยงานน้ำนโยบายไปปฏิบัติจริง

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา คือ การที่บุคคลมีความสามารถในการเข้าถึงการศึกษาแตกต่างกัน เนื่องมาจากโครงสร้างทางสังคมอันส่งผลให้เกิดปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน โดยผู้ได้รับการสนับสนุนให้เข้าถึงการศึกษาที่ดีกว่า ย่อมมีโอกาสในการเลือกระดับคุณภาพของการศึกษาที่มากกว่าผู้ที่มีปัจจัยและทรัพยากรที่น้อย โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

Report this page